สยามรถรับจ้างขนของ ( 083-925-2551 เติ้ล )
ทางเรามีบริการรถรับจ้างขนของประเภท
- รถกระบะ พร้อมคนยก
- รถสี่ล้อใหญ่ (4ล้อ) พร้อมคนยก
- รถหกล้อ (6ล้อ) พร้อมคนยก
คอยให้บริการขนย้าย ห้องพัก บ้าน ที่อยู่อาศัย สำนักงาน วัสดุ อุปกรณ์ และสินค้าต่าง
บริการจัดส่งทั่วประเทศไทย ตลอด 24 ชั่วโมง
จุดที่รถของเราประจำอยู่มีดังนี้ครับ
- บางนา บริเวณถนนอุดมสุข
- บางบ่อ บริเวณหมู่บ้านทรัพมั่นคง (ทีมงานหลัก)
- บางเขน บริเวณถนนรามอินทรา กม.4
- มีนบุรี บริเวณถนนรามอินทรา
- ดอนเมือง
- ฝั่งธนบุรี บริเวณแยกท่าพระ
ติดต่อสอบถามราคาครับ
- โทร : 083-925-2551 คุณอาทิตย์ (เติ้ล )
- เมล์ : arthit_sanorkham@hotmail.com ( face book )
- ไอดีไลน์ : arthit_sanotkham
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซด์ ( Official webside )
http://siamrodrubjang.blogspot.com
http://สยามรถรับจ้าง1.blogspot.com/
อัตราค่าบริการ
การแบ่งเขตการปกครอง (บางพลัด)
เขตบางพลัดแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 แขวง (khwaeng) ได้แก่
บางพลัด (Bang Phlat)
การคมนาคม
- ทางสายหลัก
- ถนนจรัญสนิทวงศ์ เชื่อมระหว่างสี่แยกบรมราชชนนีกับสะพานพระราม 7
- ถนนสิรินธร เชื่อมระหว่างทางแยกต่างระดับสิรินธรกับสี่แยกบางพลัด
- ถนนราชวิถี เชื่อมระหว่างสี่แยกบางพลัดกับสะพานกรุงธน
- ถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า (ทางขนานขาเข้า)
- ถนนอรุณอมรินทร์ เชื่อมระหว่างสี่แยกอรุณอมรินทร์กับสะพานพระราม 8
- ทางสายรองและทางลัด
|
|
- สะพานพระราม 7 เชื่อมเขตบางพลัดและอำเภอบางกรวยเข้ากับเขตบางซื่อ
- สะพานพระราม 6 เป็นสะพานรถไฟเชื่อมระหว่างเขตบางพลัดกับเขตบางซื่อ
- สะพานกรุงธน เชื่อมระหว่างเขตบางพลัดกับเขตดุสิต
- สะพานพระราม 8 เชื่อมระหว่างเขตบางพลัดกับเขตพระนคร
สถานที่สำคัญ
ศาสนสถาน
วัด
เขตบางพลัดมีพุทธศาสนิกชนจำนวนมาก จึงมีการสร้างวัดเป็นจำนวนไม่น้อย แบ่งเป็นวัด 23 วัด
|
|
มัสยิด
- มัสยิดบางอ้อ
- มัสยิดดารุลอิหซาน
ศาลเจ้า
- ศาลเจ้าปุงเท่ากง
- ศาลเจ้าพ่อเสือ
การแบ่งเขตการปกครอง (ดุสิต)
เขตดุสิตแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 5 แขวง (khwaeng) ได้แก่
1. | ดุสิต | (Dusit) | ||
2. | วชิรพยาบาล | (Wachiraphayaban) | ||
3. | สวนจิตรลดา | (Suan Chit Lada) | ||
4. | สี่แยกมหานาค | (Si Yaek Maha Nak) | ||
5. | ถนนนครไชยศรี | (Thanon Nakhon Chai Si) |
การคมนาคม
- ถนนประชาราษฎร์ สาย 1
- ถนนทหาร
- ถนนประดิพัทธิ์
- ถนนสามเสน
- ถนนอำนวยสงคราม
- ถนนเศรษฐศิริ
- ถนนนครไชยศรี
- ถนนสุโขทัย
- ถนนราชวิถี
- ถนนศรีอยุธยา
- ถนนพิษณุโลก
- ถนนนครสวรรค์
- ถนนอู่ทองนอก
- ถนนอู่ทองใน
- ถนนราชดำเนินนอก
- ถนนนครราชสีมา
- ถนนกรุงเกษม
- ถนนขาว
- ถนนสวรรคโลก
- ถนนเทอดดำริ
- ถนนพระรามที่ 5
- ถนนพระรามที่ 6
- ถนนเตชะวณิช
สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยามี 1 สะพาน คือ
- สะพานกรุงธนบุรี (ซังฮี้) เชื่อมระหว่างเขตดุสิตกับเขตบางพลัด
ทางน้ำอาศัยแม่น้ำเจ้าพระยาในการคมนาคมและสัญจร
สถานที่สำคัญ
วัง
- พระราชวังดุสิต
- พระบรมรูปทรงม้า
- วังปารุสกวัน
- วังจันทรเกษม
- วังสวนกุหลาบ
- วังศุโขทัย
- วังกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
- วังกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
- วังสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศวร์
- วังสวนสุนันทา
สถานที่ทำการรัฐบาล
ศาสนสถาน
ศาสนสถานในศาสนาพุทธ
ศาสนสถานในศาสนาคริสต์
โรงเรียน
- โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร[1]
- โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย
- โรงเรียนจิตรลดา
- โรงเรียนเซนต์คาเบรียล
- โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์[2]
- โรงเรียนวัดราชาธิวาส
- โรงเรียนราชินีบน
- โรงเรียนโยธินบูรณะ
- โรงเรียนราชวินิต
- โรงเรียนราชวินิต มัธยม
- โรงเรียนพันธะวัฒนา[3]
- โรงเรียนพันธะศึกษาพิทยา[4]
- โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดโบสถ์)
- โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา [5]
- โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต [6]
มหาวิทยาลัย และวิทยาลัย
- คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร
- คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร
- มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
- มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตเทเวศร์ [7]
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตโชติเวช [8]
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร [9]
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตชุมพรเขตอุดมศักดิ์ [10]
หน่วยงานราชการ
- คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.)
- กรมสวัสดิการทหารบก (สก.ทบ)
สวนสัตว์
- สวนสัตว์ดุสิต (เขาดินวนา)
ห้างสรรพสินค้า
- สยามแม็คโคร สาขา สามเสน
- สุพรีม คอมเพล็กซ์
การแบ่งเขตการปกครอง (พระนคร)
เขตพระนครแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 12 แขวง (khwaeng) ได้แก่
1. | พระบรมมหาราชวัง | (Phra Borom Maha Ratchawang) | 7. | บวรนิเวศ | (Bowon Niwet) | ||
2. | วังบูรพาภิรมย์ | (Wang Burapha Phirom) | 8. | ตลาดยอด | (Talat Yot) | ||
3. | วัดราชบพิธ | (Wat Ratchabophit) | 9. | ชนะสงคราม | (Chana Songkhram) | ||
4. | สำราญราษฎร์ | (Samran Rat) | 10. | บ้านพานถม | (Ban Phan Thom) | ||
5. | ศาลเจ้าพ่อเสือ | (San Chao Pho Suea) | 11. | บางขุนพรหม | (Bang Khun Phrom) | ||
6. | เสาชิงช้า | (Sao Chingcha) | 12. | วัดสามพระยา | (Wat Sam Phraya) |
สถานที่สำคัญในเขตพระนคร
ที่ทำการรัฐบาล
มีจำนวน 19 แห่ง ได้แก่
- กระทรวงกลาโหม
- กระทรวงมหาดไทย
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- กระทรวงพาณิชย์
- กระทรวงยุติธรรม
- กรมที่ดิน
- กรมข่าวทหารบก
- กรมเสมียณเงินตรา กระทรวงการคลัง
- กรมศิลปากร
- กรมแผนที่ทหาร
- กรมสวัสดิการทหารเรือ
- กรมพระธรรมนูญ (ศาลทหารกรุงเทพมหานคร)
- กรมการรักษาดินแดน
- สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
- สำนักอัยการสูงสุด
- หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง
- ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เลขที่ 173 ถนนดินสอ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร
- ศาลรัฐธรรมนูญ เลขที่ 326 ถนนจักรเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร
- ศาลฎีกา
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขที่ 1 ถนนพระอาทิตย์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร
- ธนาคารแห่งประเทศไทย
วัด
มีจำนวน 24 แห่ง ได้แก่
- วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
- วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
- วัดสุทัศนเทพวราราม
- วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
- วัดบวรนิเวศวิหาร
- วัดมกุฏกษัตริยาราม
- วัดอินทรวิหาร
- วัดใหม่อมตรส
- วัดนรนารถสุนทริการาม
- วัดเอี่ยมวรนุช
- วัดราชนัดดาราม
- วัดเทพธิดาราม
- วัดตรีทศเทพ
- วัดราชบุรณะ
- วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์
- วัดมหรรณพาราม (โรงเรียนประถมศึกษาแห่งแรกของไทย)
- วัดปรินายก
- วัดทิพย์วารีวรวิหาร
- วัดชนะสงคราม
- วัดสังเวชวิศยาราม
- วัดสามพระยา
- วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม
- วัดบุรณศิริมาตยาราม (วัดศิริอำมาตย์)
มัสยิด
มีจำนวน 2 แห่ง ได้แก่
ศาลเจ้า
มีจำนวน 7 แห่ง ได้แก่
- ศาลเจ้าพ่อเสือ
- ศาลเจ้าพ่อหอกลอง
- ศาลเจ้าแม่ทับทิม
- ศาลเจ้าบ้านหม้อ
- ศาลเจ้าพ่อเขาตก
- ศาลเจ้าแม่สาวิตรี
- ศาลเจ้าพ่อหนู
- ศาลเจ้าพ่อครุฑ
พระราชวัง และ วัง
- พระบรมมหาราชวัง
- พระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระบวรราชวัง
- วังบูรพาภิรมย์
- วังสราญรมย์
- วังท่าเตียน หรือ วังจักรพงษ์
- วังสะพานช้างโรงสี วังเหนือ
- วังสะพานช้างโรงสี วังใต้
- วังท่าพระ หรือ วังล่าง
- วังมะลิวัลย์
- วังบางขุนพรหม
- วังเทวะเวสม์
- วังสรรพสาตรศุภกิจ
- วังลดาวัลย์
- วังวรดิศ
- วังวรวรรณ
- วังตรอกสาเก
- วังถนนพระอาทิตย์
อนุสาวรีย์ และ พระบรมราชานุสาวรีย์
- อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
- อุทกทาน
- อนุสาวรีย์ทหารอาสา
- อนุสาวรีย์พระบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ (หน้ากระทรวงพาณิชย์)
- อนุสาวรีย์สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท (หน้าวัดมหาธาตุ ฯ)
- อนุสาวรีย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (หน้ากระทรวงยุติธรรม)
- อนุสาวรีย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (หน้ากระทรวงมหาดไทย)
- อนุสาวรีย์หมู (ถนนราชินี ริมคลองคูเมืองเดิม)
- พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3)
- พระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (ภายในบริเวณวัดสุทัศน์ ฯ)
- ปฐมพระบรมราชานุสาวรีย์เฉลิมพระเกียรติ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า)
โบราณสถาน และสถานที่สำคัญต่าง ๆ
- พิพิธภัณฑ์การศึกษาแห่งชาติ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
- ป้อมพระสุเมรุ
- ป้อมมหากาฬ
- กำแพง และ ประตูพระนคร (ตรงข้ามวัดบวรนิเวศวิหาร และหลังป้อมมหากาฬ)
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์
- ศาลหลักเมือง
- โรงละครแห่งชาติ
- ศาลาเฉลิมกรุง
- อนุสรณ์สถานวีรชน 14 ตุลาคม
- สนามหลวง
- เสาชิงช้า
- สนามไชย
- สวนสราญรมย์
- คลองคูเมือง ได้แก่ คลองคูเมืองเดิม (คลองหลอดและคลองตลาด) คลองรอบกรุง (คลองบางลำพูและคลองโอ่งอ่าง) และคลองผดุงกรุงเกษม
- ท่าราชวรดิฐ
- ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์
- โลหะปราสาท (วัดราชนัดดาราม)
- หอภูวดลทัศนัย (ใกล้หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง)
- ตึกรามแบบตะวันตก เช่น หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง อาคารริมถนนราชดำเนินกลาง ถนนหน้าพระลาน
- ประตูฝรั่ง (ถนนแพร่งสรรพศาสตร์)
- หอศิลป์ ถนนเจ้าฟ้า
- ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ แยกป้อมมหากาฬ
- ศาสนสถาน โบสถ์พราหมณ์
- บ้านพระอาทิตย์
- บ้านเจ้าพระยา
- บ้านมะลิวัลย์
ในตอนเริ่มแรกนั้น สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้าง 14 ป้อมปราการ เพื่อรักษาพระนคร แต่ถูกรื้อลงเกือบหมดในสมัยต่อมา ปัจจุบันหลงเหลืออยู่เพียง 2 ป้อม ได้แก่ ป้อมพระสุเมรุและป้อมมหากาฬ แต่เดิมนั้น บริเวณรอบ ๆ ป้อมพระสุเมรุ เป็นแค่ถนนธรรมดา แต่ในปี พ.ศ. 2543 ได้สร้างสวนสาธารณะสวนสันติชัยปราการ
เมื่อปี พ.ศ. 2548 ทางรัฐบาลได้อภิปราย พื้นที่บริเวณตั้งแต่สะพานพระพุทธยอดฟ้าจนถึงท่าวาสุกรี ส่งไปให้องค์การยูเนสโกเพื่อให้เป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคต
โรงเรียน มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยของรัฐ
- โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
- มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- มหาวิทยาลัยศิลปากร
- วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
- วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา
- วิทยาลัยนาฏศิลป์
- วิทยาลัยในวัง
- โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ
- โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
- โรงเรียนราชินี
- โรงเรียนวัดบวรนิเวศ
- โรงเรียนสตรีวิทยา
- โรงเรียนวัดราชบพิธ
ตลาดและศูนย์การค้า
- ตลาดปากคลองตลาด ขององค์การตลาด กระทรวงมหาดไทย
- ตลาดยอดพิมาน
- ไชน่าเวิลด์
- เมก้าพลาซ่า
- บางลำพูสรรพสินค้า
- ตั้งฮั่วเส็ง
- พาหุรัดพลาซ่า
- ดิโอลด์สยาม
- ห้างไนติงเกล
- บ้านหม้อ
- เวิ้งนครเขษม
- คลองถม
- ตลาดบางลำพู
การคมนาคม
เป็นเขตเดียวที่มีบริการรถรางรอบเกาะรัตนโกสินทร์[1] มีถนนสายหลักในเขตพระนคร ได้แก่
- ถนนกรุงเกษม
- ถนนข้าวสาร
- ถนนจักรเพชร
- ถนนเจ้าฟ้า
- ถนนเจริญกรุง
- ถนนดินสอ
- ถนนตรีเพชร
- ถนนตานี
- ถนนตะนาว
- ถนนตีทอง
- ถนนบ้านหม้อ
- ถนนบำรุงเมือง
- ถนนประชาธิปไตย
- ถนนพระพิทักษ์
- ถนนพระจันทร์
- ถนนพระพิพิธ
- ถนนพระสุเมรุ
- ถนนพระอาทิตย์
- ถนนพาหุรัด
- ถนนเฟื่องนคร
- ถนนมหรรณพ
- ถนนมหาไชย
- ถนนมหาราช
- ถนนราชินี
- ถนนราชดำเนินใน ราชดำเนินกลาง และราชดำเนินนอก
- ถนนวิสุทธิกษัตริย์
- ถนนศิริพงษ์
- ถนนสนามไชย
- ถนนสิบสามห้าง
- ถนนสามเสน
- ถนนหน้าพระธาตุ
- ถนนหน้าพระลาน
- ถนนหลวง
- ถนนอุณากรรณ์
- ถนนอัษฎางค์
- ถนนบูรพา
และมีสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 4 แห่ง ได้แก่
- สะพานพระราม 8 เชื่อมระหว่างเขตพระนครกับเขตบางพลัด
- สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า เชื่อมระหว่างเขตพระนครกับเขตบางกอกน้อย
- สะพานพระพุทธยอดฟ้า เชื่อมระหว่างเขตพระนครกับเขตธนบุรี
- สะพานพระปกเกล้า เชื่อมระหว่างเขตพระนครกับเขตธนบุรี
และกำลังมีการก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้า ในโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
- สถานีวังบูรพา บริเวณแยกสามยอด
- สถานีสนามไชย ตั้งอยู่ใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ในแนวถนนสนามไชย บริเวณวัดพระเชตุพนฯ